· หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕
· พ.ศ.๒๔๙๑-๒๕๐๑ : ยุคหนังสือสำหรับเด็กเริ่มเฟื่องฟู
· วรรณกรรมสำหรับเด็กประเภท
· ภายหลังจึงมีการบันทึกวรรณกรรมมุขปาฐะเหล่านี้ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
· วรรณกรรมลายลักษณ์/หนังสือที่ปรากฏหลักฐานว่าแต่งขึ้นสำหรับเด็กเล่มแรกคือ “จินดามณี”
· คุณค่าของหนังสือ “จินดามณี”
· สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
· สมัยรัชกาลที่ ๕ เริ่มมีการจัดการศึกษาแบบใหม่
· พ.ศ. ๒๔๓๐-๒๔๗๑ วิวัฒนาการของหนังสือสำหรับเด็กในประเทศไทยเป็นไปอย่างเร็ว
· รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั้งกรมศึกษาธิการขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๓๐
· สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ นิพนธ์หนังสือแบบเรียนเร็ว เพื่อใช้แทนแบบเรียนหลวงของพระยาศรีสุนทรโวหาร
· กรมศึกษาธิการจัดพิมพ์แบบสอนอ่านของวิชาต่างๆ ออกมาหลายชุด
· ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๕๕-๒๔๖๔ กรมราชบัณฑิต ได้จัดพิมพ์หนังสือสำหรับเด็กขึ้นหลายเล่ม
· สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ โปรดให้รวบรวม บทกลอนกล่อมเด็ก ในปีพ.ศ. ๒๔๖๔
· โรงเรียนต่างๆเริ่มจัดทำหนังสือสำหรับเด็ก ในรูปแบบของนิตยสารของโรงเรียน
· เอกชนเริ่มจัดพิมพ์นิตยสารสำหรับเด็ก
· ยกเลิกหนังสือแบบเรียนที่ใช้มาทั้งหมด
· เริ่มต้นใช้แบบเรียนหลวงของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูล) ๖ เล่มคือ
o มูลบทบรรพกิจ
o วาหนิต์นิกร
o อักษรประโยค
o สังโยคพิธาน
o ไวพจน์พิจารณ์
o พิศาลการันต์
· ก่อนเกิดกิจการการพิมพ์ มีหนังสือที่ใช้เป็นแบบเรียนหลายเล่ม ได้แก่
o ประถม ก กา
o สุบินทกุมาร
o ประถมมาลา
o จินดามณี (เล่ม ๑ และ ๒)
o สวัสดิรักษาคำกลอน
· เมื่อมีการจัดตั้งโรงพิมพ์ในสมัยรัชกาลที่ ๓ จึงมีการจัดพิมพ์แบบเรียนเหล่านี้ รวมทั้งหนังสืออ่านประกอบอีกหลายเรื่อง
· จินดามณีมีความสำคัญต่อวงการภาษาและหนังสือแบบเรียนของไทย
· หนังสือแบบเรียนในยุคต่อมามีการเลียนแบบจินดามณีอยู่หลายตอน
· จินดามณีเป็นแบบเรียนที่ใช้แพร่หลายมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ ๕) โดยปรากฏหนังสือ “จินดามณี”หลายฉบับ
· ผู้แต่งคือ พระโหราธิบดี
· สมัยอยุธยา (สมเด็จพระนารายณ์มหาราช)
· วัตถุประสงค์ในการแต่ง เพื่อใช้เป็นแบบเรียนสำหรับเด็ก
· ลักษณะคำประพันธ์ ส่วนใหญ่เป็นร้อยแก้ว แทรกด้วยคำประพันธ์ประเภทอื่นๆ
· เนื้อหาของหนังสือ “จินดามณี”
· กล่าวถึงอักษรศัพท์ที่มาจากภาษาต่างๆ
· คำพ้อง
· การใช้พยัญชนะ ศ ษ ส
· สระ ไ- และ ใ-
· อักษรสามหมู่ การผันอักษร วรรณยุกต์
· เครื่องหมายวรรคตอน
· อธิบายการแต่งคำประพันธ์ประเภทต่างๆ
o ฯลฯ
· “มุขปาฐะ” มีอยู่ในสังคมไทยมานาน
o เพลงกล่อมเด็ก เพลงปลอบเด็ก
o บทขับร้อง
o กลอนนิทาน / กลอนคำสอน
o นิทานพื้นบ้าน
· ฯลฯ
· กระทรวงศึกษาธิการจัดตั้งสำนักวรรณกรรมการศึกษาขึ้น และได้เริ่มพิมพ์หนังสือ คลังนิยาย และประทีบทอง ซึ่งเป็นที่นิยมของเด็กๆมาก
· สำนักพิมพ์เอกชนกล้าลงทุนพิมพ์หนังสือสำหรับเด็กประเภทต่างๆออกวางจำหน่าย อาทิ นวนิยายแปล นิทานการ์ตูนเล่มละ ๑ บาท เป็นต้น
· การนำนิทานจักรๆวงศ์ๆ มาเขียนเป็นการ์ตูนประกอบคำกลอนง่ายๆ ลงในหนังสือพิมพ์
· กรมวิชาการ (พ.ศ.๒๔๙๕-๒๕๐๓) ได้ส่งเสริมให้จัดทำหนังสือสำหรับเด็กด้วยวิธีการต่างๆ
· การแปลนวนิยายเรื่องยาวสำหรับเด็ก
· เกิดนิตยสารที่ให้ความรู้เฉพาะทางด้านภาษาอังกฤษแก่เด็ก
· องค์การค้าของคุรุสภา (พ.ศ.๒๔๙๓) เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลิตและจำหน่ายหนังสือสำหรับเด็ก
· องค์การยูเนสโก ประกาศให้ปีพ.ศ.๒๕๒๒ เป็นปีเด็กสากล สำนักพิมพ์และผู้ผลิตหนังสือสำหรับเด็ก เริ่มหันมาให้ความสนใจและจัดกิจกรรมต่างๆสำหรับเด็ก
· ปัจจุบันมีสำนักพิมพ์หลายแห่งได้ผลิต สร้างสรรค์และจัดพิมพ์หนังสือที่ดีสำหรับเด็กมากยิ่งขึ้น
· การประกาศใช้แผนการศึกษาใหม่ กระทรวง ศึกษาธิการจัดทำแบบเรียนหลวงขึ้นใหม่
· ตลาดหนังสือหันไปให้ความสำคัญกับวรรณกรรมผู้ใหญ่ การผลิตหนังสือสำหรับเด็กน้อยลง
· มีการนำนวนิยายสำหรับเด็กลงพิมพ์เป็นตอนๆในนิตยสารต่างๆ
่ขอบคุณข้อมูล เนื้อหา ที่เผยแพร่ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนค่ะ
ตอบลบ